สิ่งที่สำคัญที่สุดที่ผู้เขียนเรียงความจะต้องตระหนัก คือ
" ... การเขียนคำนำนั้น “จะเขียนอย่างไรก็ได้แต่ต้อง “ก่อความสนใจ” ให้แก่ผู้อ่านมากที่สุด ... "
------------------------------------
เทคนิคที่ 5 การเขียนคำนำด้วยการเล่าเรื่อง
-------------------------------------
ตัวอย่าง
“โลกยุคปัจจุบันและโลกในอนาคตอันใกล้ กำลังลดทอนความมีคุณธรรมจริยธรรม ความดีงาม ความยุติธรรม ความชอบธรรม เหลือแค่เพียงความถูกผิดทางกฎหมาย และโดยเฉพาะความถูกผิดตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานของตนเอง จึงเกิดการโต้แย้งโต้เถียง ปกป้องและกล่าวหาผู้อื่นในทำนองว่าตนเองทำถูกต้องตามกฎระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานที่ตนสังกัด ทำถูกต้องตามหน้าที่ของตำแหน่งที่ตนดำรงอยู่ ส่วนคนอื่นที่ประท้วงหรือต่อต้าน เป็นฝ่ายผิด ไม่รู้เรื่องหรือแม้กระทั่งหาเรื่อง ในทางกลับกันอีกฝ่ายก็โจมตีอีกฝ่ายว่าผิด และบอกว่าตนเองถูก”
Go to Main Page
เทคนิคการเรียงความและย่อความ
-
▼
2008
(9)
-
▼
สิงหาคม
(9)
- ความหมายของการเรียงความและการย่อความ
- องค์ประกอบของเรียงความ
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่1 การเขียนคำนำด้วยการตั้ง...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่2 การเขียนคำนำด้วยการยกคำ...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่3 การเขียนคำนำด้วยการอธิบ...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่4 การเขียนคำนำด้วยการกำหน...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่5 การเขียนคำนำด้วยการเล่า...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่ 6 การเขียนคำนำด้วยการยกข...
- หัวข้อเรียงความที่น่าสนใจและนำไปออกข้อสอบเสมอ
-
▼
สิงหาคม
(9)
วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
เกี่ยวกับฉัน
- tutorlawGroup
- LL.M. (Chulalongkorn University) LL.B. (WITH FIRST CLASS HONOR) (CMU), THAI BARRISTER AT LAW, LAWYER LICENCE
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น