การเขียนคำนำมีมากมายหลายวิธี แต่เพื่อความกระชับ ผมขอยกมาแค่ 6 วิธีที่ดีที่สุด อย่างไรก็ตามที่ผมย้ำไปย้ำมา หลายครั้ง นั่นก็คือ " ... การเขียนคำนำนั้น “จะเขียนอย่างไรก็ได้แต่ต้อง ก่อความสนใจ” ให้แก่ผู้อ่านมากที่สุด ... "
------------------------------------
เทคนิคที่ 6 การเขียนคำนำด้วยการยกข้อความที่ตัดตอนมากล่าว
-------------------------------------
ตัวอย่าง
“สถาบันศาลยุติธรรมนับว่ามีบทบาทสำคัญในการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพและความยุติธรรมของประชาชนในสังคมประชาธิปไตย ดังคำจารึกในหิรัญบัตรที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริเกี่ยวกับการปฏิรูประบบ ศาลยุติธรรมตอนหนึ่งว่า “...การยุติธรรมอันเดียวเป็นการที่สำคัญยิ่งใหญ่ เป็นหลักประธานการชำระตัดสินความทุกโรงศาล เป็นเครื่องประกอบรักษาให้ความยุติธรรม เป็นไปถ้าจัดให้ดีขึ้นเพียงใด ประโยชน์ความสุขของราษฎรก็จะเจริญยิ่งขึ้นเท่านั้น เพราะฉะนั้นจึงได้ทรงพระอุตส่าห์ไต่สวนในพระราชกำหนดกฎหมายเก่าใหม่และการที่ลูกขุนตระลาการได้กระทำแต่ก่อน ๆ สืบมาจนทุกวันนี้....”
Go to Main Page
เทคนิคการเรียงความและย่อความ
-
▼
2008
(9)
-
▼
สิงหาคม
(9)
- ความหมายของการเรียงความและการย่อความ
- องค์ประกอบของเรียงความ
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่1 การเขียนคำนำด้วยการตั้ง...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่2 การเขียนคำนำด้วยการยกคำ...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่3 การเขียนคำนำด้วยการอธิบ...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่4 การเขียนคำนำด้วยการกำหน...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่5 การเขียนคำนำด้วยการเล่า...
- เทคนิคการเขียนคำนำ ตอนที่ 6 การเขียนคำนำด้วยการยกข...
- หัวข้อเรียงความที่น่าสนใจและนำไปออกข้อสอบเสมอ
-
▼
สิงหาคม
(9)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
เกี่ยวกับฉัน
- tutorlawGroup
- LL.M. (Chulalongkorn University) LL.B. (WITH FIRST CLASS HONOR) (CMU), THAI BARRISTER AT LAW, LAWYER LICENCE
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น